แอบดูรถไฟจีน – ลาว และความพร้อมต่อยอดของจีนกับทูตพาณิชย์ ณ นครคุนหมิง

แอบดูรถไฟจีน – ลาว และความพร้อมต่อยอดของจีนกับทูตพาณิชย์ ณ นครคุนหมิง แอบดูรถไฟจีน – ลาว และความพร้อมต่อยอดของจีนกับทูตพาณิชย์ ณ นครคุนหมิง แอบดูรถไฟจีน – ลาว และความพร้อมต่อยอดของจีนกับทูตพาณิชย์ ณ นครคุนหมิง แอบดูรถไฟจีน – ลาว และความพร้อมต่อยอดของจีนกับทูตพาณิชย์ ณ นครคุนหมิง แอบดูรถไฟจีน – ลาว และความพร้อมต่อยอดของจีนกับทูตพาณิชย์ ณ นครคุนหมิง
แอบดูรถไฟจีน – ลาว และความพร้อมต่อยอดของจีนกับทูตพาณิชย์ ณ นครคุนหมิง
แอบดูรถไฟจีน – ลาว และความพร้อมต่อยอดของจีนกับทูตพาณิชย์ ณ นครคุนหมิง
แอบดูรถไฟจีน – ลาว และความพร้อมต่อยอดของจีนกับทูตพาณิชย์ ณ นครคุนหมิง
แอบดูรถไฟจีน – ลาว และความพร้อมต่อยอดของจีนกับทูตพาณิชย์ ณ นครคุนหมิง
แอบดูรถไฟจีน – ลาว และความพร้อมต่อยอดของจีนกับทูตพาณิชย์ ณ นครคุนหมิง

     รถไฟจีน-ลาว ไม่เพียงแต่เป็นเส้นทางคมนาคมระหว่างประเทศที่สำคัญเท่านั้น ยังเป็นจุดเชื่อมโยงมิตรภาพระหว่างไทย จีน และลาวอีกด้วย โดยหลังจากการดำเนินการเชื่อมโยงระหว่างรถไฟจีน-ลาว และลาว-ไทย จะทำให้การขนส่งข้ามพรมแดนและการค้าพหุภาคีของทั้งสามประเทศมีความแข็งแกร่งขึ้นมากขึ้น ซึ่งไทยในฐานะ “ศูนย์กลางคมนาคมในภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง” ทำให้การขนส่งสินค้าด้วยรถไฟระหว่างประเทศลุ่มแม่น้ำโขง จะมีความรวดเร็วและสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น และยังสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายและระยะเวลาในการขนส่งลง ส่งผลให้สินค้าไทยมีโอกาสเข้ามายังตลาดจีนและภูมิภาคอื่นๆ ทั่วโลกได้ง่ายขึ้น ส่วนในด้านการท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวชาวจีนและชาวลาวสามารถเดินท่องเที่ยวยังประเทศไทยได้สะดวกมากยิ่งขึ้น โดยจะทำให้เกิดเส้นทางการท่องเที่ยวและธุรกิจรองรับนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในส่วนพื้นที่ในภาคอีสานตอนบน ได้แก่ จังหวัดหนองคาย จังหวัดอุดรธานี และจังหวัดเลย เป็นต้น จะสามารถสร้างมูลค่าด้านการค้าและการท่องเที่ยวได้อย่างมหาศาล นอกจากนี้ ยังช่วยส่งเสริมและดึงดูดนักลงทุนเข้ามาลงทุนในไทย ซึ่งจะทำให้เกิดการเชื่อมโยงทางการค้า การลงทุนและการท่องเที่ยวภายในภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้อีกด้วย อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการไทยควรมีการเตรียมความพร้อมสำหรับโอกาสด้านการค้า การท่องเที่ยวและการลงทุน ที่จะมาพร้อมกับรถไฟ โดยศึกษาข้อมูลต่างๆ และติดตามข่าวสารที่เกี่ยวข้องอย่างสม่ำเสมอ เพื่อจะได้ไม่พลาดโอกาสเมื่อมาถึง

      รถไฟจีน-ลาว ไม่เพียงแต่เป็นเส้นทางคมนาคมระหว่างประเทศที่สำคัญเท่านั้น ยังเป็นจุดเชื่อมโยงมิตรภาพระหว่างไทย จีน และลาวอีกด้วย โดยหลังจากการดำเนินการเชื่อมโยงระหว่างรถไฟจีน-ลาว และลาว-ไทย จะทำให้การขนส่งข้ามพรมแดนและการค้าพหุภาคีของทั้งสามประเทศมีความแข็งแกร่งขึ้นมากขึ้น ซึ่งไทยในฐานะ “ศูนย์กลางคมนาคมในภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง” ทำให้การขนส่งสินค้าด้วยรถไฟระหว่างประเทศลุ่มแม่น้ำโขง จะมีความรวดเร็วและสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น และยังสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายและระยะเวลาในการขนส่งลง ส่งผลให้สินค้าไทยมีโอกาสเข้ามายังตลาดจีนและภูมิภาคอื่นๆ ทั่วโลกได้ง่ายขึ้น ส่วนในด้านการท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวชาวจีนและชาวลาวสามารถเดินท่องเที่ยวยังประเทศไทยได้สะดวกมากยิ่งขึ้น โดยจะทำให้เกิดเส้นทางการท่องเที่ยวและธุรกิจรองรับนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในส่วนพื้นที่ในภาคอีสานตอนบน ได้แก่ จังหวัดหนองคาย จังหวัดอุดรธานี และจังหวัดเลย เป็นต้น จะสามารถสร้างมูลค่าด้านการค้าและการท่องเที่ยวได้อย่างมหาศาล นอกจากนี้ ยังช่วยส่งเสริมและดึงดูดนักลงทุนเข้ามาลงทุนในไทย ซึ่งจะทำให้เกิดการเชื่อมโยงทางการค้า การลงทุนและการท่องเที่ยวภายในภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้อีกด้วย อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการไทยควรมีการเตรียมความพร้อมสำหรับโอกาสด้านการค้า การท่องเที่ยวและการลงทุน ที่จะมาพร้อมกับรถไฟ โดยศึกษาข้อมูลต่างๆ และติดตามข่าวสารที่เกี่ยวข้องอย่างสม่ำเสมอ เพื่อจะได้ไม่พลาดโอกาสเมื่อมาถึง